Ubuntu20.04 desktopใช้เวลาครั้งแรกติดตั้งไม่นาน ใช้usb3+tf card class10จะเร็วมาก การลงโปรแกรมเพิ่มตามด้านล่างก็ใช้เวลามากกว่าหน่อย ทั้งนี้ขึ้นกับสเปคเครื่องและความเร็วเน็ต ใช้เนื้อที่ไม่เกิน40GB หลังจากลงโปรแกรมต่างๆตามด้านล่างจนเสร็จ
สร้างusb install ด้วย rufus , ติดตั้งครั้งแรกให้เลือกออโต้ล็อคอินไปก่อน เพราะอาจจะต้องรีบูตเครื่องเพื่อทดสอบ และลงแบบอังกฤษไปก่อน ลงเสร็จแล้วค่อยเพิ่มไทย ตอนติดตั้งควรต่ออินเทอร์เน็ตตลอด เพิ่มไทยไม่ควรอัพเดทเมนูตำแหน่งต่างๆเป็นไทย (เช่น desktop) ให้ใช้แบบdesktopเหมือนเดิม
การตั้งค่าภาษาไทย
กดsetting >Region & Language
Language เป็น English
Formats เป็น Us
Manage installed Language แล้วกดที่ Keyboard input method system เลือกเป็นThai
แล้ว Login ใหม่1รอบ
ถอดถอนการติดตั้งโปรแกรม
การลงโปรแกรมแล้วไม่ชอบ ก็ถอดถอนการติดตั้งได้ง่ายตามนี้ https://wsx2.blogspot.com/2021/02/uninstall-or-remove.html
แก้ไขออโต้ล็อคอิน
$ sudo nano /etc/gdm3/custom.conf
แล้วใส่ # หน้าบรรทัด2บรรทัด เสร็จแล้วเซฟ ลองรีบูทดูครับ
บรรทัดไหนมีตัว $ ก็แสดงว่าต้องพิมพ์คำสั่งบนTerminal ซึ่งส่วนใหญ่ก็ต้องทำแบบนั้นครับ copyข้อความ แล้วpasteได้เลย
https://vitux.com/how-to-enable-disable-automatic-login-in-ubuntu-18-04-lts/
-ตั้งแต่ 18.04 มา ubuntuสามารถใช้ตัวหนอนในการสลับภาษาได้โดยไม่ต้องลงแอพเพิ่ม สามารถใช้กับxrdpในการรีโมทได้เลย ตามนี้
-กดsetting
-เพิ่มไทยที่Region & Language
-keyboard Shortcuts
ส่วนของTyping > Switch to next input source
-ติดตั้ง xrdp
แนะนำให้ติดตั้งครับ ใช้เวลานิดเดียวครับ เนื่องจากการติดตั้งแบบทั่วไปที่แนะนำกัน สำหรับubuntuจะต้องไปตั้งค่าfreedesktopเพิ่มเติมอีก และต้องลงgnome-tweak-toolเพื่อใช้งานด้วย การติดตั้งด้วยscriptจะสะดวกกว่าครับ, (download script 0.2 Std-Xrdp-Install-0.2.zip จากhttp://c-nergy.be/blog/?p=11868 แตกไฟล์แล้วแก้ตัวเลขเวอร์ชั่นในสคริปจาก17.10เป็น20.04 เซฟ แล้วแก้propertyให้รันได้ และรันในเทอมินอล ) หลังจากใช้งานมาซักพักหนึ่งจึงรู้ว่ามีscriptติดตั้งอันที่ใหม่กว่าครับ Script Version 1.2ดูที่ http://c-nergy.be/blog/?p=14888 , ก็ลองดูว่าดีมั้ยครับ
การทำตามScript Version 1.2 จะทำให้windows XP รีโมทเข้าubuntuไม่ได้ จึงต้องเอาxrdpออกจากssl-certไปก่อน โดยใช้คำสั่ง deluser <username> <groupname>
$ chmod +x ~/Downloads/xrdp-installer-1.2.sh
$ ./xrdp-installer-1.2.sh
$ sudo deluser xrdp ssl-cert
$ sudo adduser user1
เสร็จก็ดูip addressของเครื่อง โดยใช้ifconfig แต่ต้องลงnet-tools ก่อน
$ sudo apt install net-tools
$ ifconfig
-gnome-tweak-tool หลังจากติดตั้งแล้ว ก็เข้าไปตั้งค่าได้โดยกด (ลองเลือกดูครับ ว่าชอบแบบไหนครับ)
setting-Extensions
setting-Tweaks-Extensions
setting-Tweaks-windows titlebars
setting-Tweaks-Fonts
-สร้างshortcut on desktop
$ sudo apt install gnome-tweak ;ซึ่งจะติดตั้งไปแล้วในสคริปติดตั้งxrdp
ปรับแต่งgnome-tweak แล้วขาดเหลืออะไรค่อยมาทำเพิ่งตามนี้ครับ
$ cp /usr/share/applications/nautilus.desktop ~/Desktop
สามารถสร้างshortcutให้ ผู้ใช้รายอื่นได้ ด้วยคำสั่ง
$ sudo cp /usr/share/applications/nautilus.desktop /home/user2/Desktop
สร้างshortcutโฟลเดอร์share ไปวางไว้ที่Desktop โดยใช้คำสั่ง ln -s
$ ln -s /share ~/Desktop
-แก้ไขpanel ให้อยู่ด้านล่าง,ข้างซ้ายหรือขวา ไม่มีให้เลือกย้ายไปไว้ด้านบน
$ sudo apt install gnome-tweak ;ซึ่งจะติดตั้งเองในสคริปติดตั้งxrdp ต่อไป
-Turn off Lock Screen on Ubuntu 20.04 | 18.04ตั้งค่าไม่ให้ล็อคหน้าจอเมื่อไม่ใช้งาน
-gnome-tweak เพื่อเพิ่มปุ่มย่อ-ขยายที่มุมขวา ลองเล่นดูครับ ผมแก้ไขโดยคลิกที่
setting - Tweaks -Window Title bars -Titlebar Bottons แล้วก็เลือกๆดูครับ
setting - Extensions
-ติดตั้ง Chrome
$ sudo apt update && sudo apt upgrade
$ wget https://dl.google.com/linux/direct/google-chrome-stable_current_amd64.deb
$ sudo dpkg -i google-chrome-stable_current_amd64.deb
$ google-chrome
-ติดตั้ง wine-6.0 & *.exe ต่อด้วยLinePC จะใช้เวลานานหน่อย
$ sudo apt update && sudo apt upgrade
$ sudo dpkg --add-architecture i386
$ sudo apt update
$ wget -qO - https://dl.winehq.org/wine-builds/winehq.key | sudo apt-key add -
$ sudo apt-add-repository 'deb https://dl.winehq.org/wine-builds/ubuntu/ focal main'
$ sudo apt update
$ sudo apt install --install-recommends winehq-stable
{For Ubuntu WineHQ packages, you have to reconfigure the settings to enable some features which get disabled by default due to potential security risk.
# $ dpkg-reconfigure wine-<packagename>-amd64 wine-<packagename>
wine-<packagename>-i386
The text inside these two tags “<” “>” should be replaced with your install wine package.} ไม่ได้ทำ
$ wine --version
$ wget https://github.com/notepad-plus-plus/notepad-plus-plus/releases/download/v7.8.8/npp.7.8.8.Installer.exe
$ wine npp.7.8.8.Installer.exe
https://wine.htmlvalidator.com/install-wine-on-ubuntu-20.04.html
Line PC ใช้งานแบบe'mail Login เพื่อการจดจำการเข้าใช้โปรแกรม ดาวน์ไฟล์มาก่อน แล้วใช้คำสั่ง
$ wine LineInst.exe
ต้องลงทุกๆuser ลงเสร็จเข้าใช้Line ด้วย e'mail ปรับแต่ง Lineโดยตั้งค่าในโปรแกรมเป็นอังกฤษ แก้font โดยลง font Tahoma เสร็จแล้ว กดsetting - basic-font , ติดตั้งsambaเสร็จแล้ว ,แก้ตำแหน่งsaveไฟล์ setting-chat-Download folder เลือกเป็น /share/user และ sudo chmod 777 /share/user ด้วย setting - basic-font
-ลงFont Tahoma เพิ่ม และแก้ไขFont ในโปรแกรมต่างๆให้เป็นFont นี้ เพื่อให้การเปิดไฟล์ด้วยวินโด้จะได้คลิกอ่านเพิ่มได้ที่
1 และ
2 downloadฟ้อนต์มา หรือcopyฟ้อนต์จาก windows แล้วไปที่โฟลเดอร์นั้น แล้วสั่ง
$ sudo cp tahom*.ttf /usr/share/fonts/truetype/
$ fc-cache -f -v ;เพื่อให้รับรู้ฟ้อนต์ใหม่
-Samba ลงเสร็จแล้วสร้างshotcutให้ลิงค์ไปที่โฟลเดอร์ จบเลย ง่ายและดีกว่าทำออโต้เม้าส์เครื่องตัวเอง
$ sudo apt update
$ sudo apt install samba
$ hostnamectl ;เพื่อดูhostname
$ sudo hostnamectl set-hostname rayong1 ;ถ้าต้องการเปลี่ยนชื่อhostname
$ sudo nano /etc/samba/smb.conf
[global]
workgroup = rayong
netbios name = rayong1 ;ตั้งให้ตรงกับhostname ถ้าไม่มีnetbios name win10จะไม่เห็น
security = user
client min protocol = NT1
client lanman auth = yes
server min protocol = NT1
ntlm auth = yesเพิ่มบรรทัดล่างสุด
[share]
comment = everyone ;แชร์โฟดเดอร์shareให้ทุกคนได้หมด
path = /share
public = yes
writable = yes
เซฟsave & exit file editor
$ sudo smbd restart
$ sudo mkdir /share
$ sudo chmod 777 /share
สร้างshotcutโดยใช้คำสั่ง ln -s
user@mintmate:/$ ln -s /share ~/Desktop
user@mintmate:/$ ln -s /share ~/พื้นโต๊ะ
$ ln -s /share /home/user1/Desktop ;สร้างshotcutให้user1
จะใช้คำว่าDesktopหรือพื้นโต๊ะ ต้องตรงกับที่เห็นในfile explorer หรือในTerminal
user@mintmate:~$ ln -s /share ~/Desktop บรรทัดนี้ผิด สร้างไม่ได้
จบการติดตั้งsamba
win10 กดค้นหา พิมพ์run เข้าใช้run พิมพ์
//192.168.x.x/share
windowsล้างประวัติการใช้เครือข่าย
c:\>net use * /delete
ดูเพิ่มที่ https://wsx2.blogspot.com/2020/12/samba.html
$ sudo smbd restart
$ sudo mkdir /share
$ sudo chmod 777 /share
สร้างshotcut จะใช้งานได้สะดวกที่สุด โดยใช้คำสั่ง ln -s
user@mintmate:/$ ln -s /share ~/Desktop
user@mintmate:/$ ln -s /share ~/พื้นโต๊ะ
จะใช้คำว่าDesktopหรือพื้นโต๊ะ ต้องตรงกับที่เห็นในfile explorer หรือในTerminal
user@mintmate:~$ ln -s /share ~/Desktop บรรทัดนี้ผิด (linux mint)สร้างไม่ได้
ออโต้เม้าส์ เมื่อเปิดเครื่อง โดยแก้ไขไฟล์/etc/fstab และสร้างจุดเม้าส์ชื่อcat
$ sudo apt-get install cifs-utils
$ sudo mkdir /media/cat
$ sudo chmod 777 /media/cat
$ sudo cp /etc/fstab /etc/fstab.backup
$ sudo nano -w /etc/fstab
เพิ่มบรรทัด
# เม้าส์เครื่องตัวเอง
//localhost/share /media/cat/ cifs guest,noperm,x-systemd.automount,noauto 0 255
//localhost/share /media/cat/ cifs guest,noperm,noauto,x-systemd.automount,x-systemd.mount-timeout=30,_netdev 0 255
# เม้าส์เครื่องอื่น
//192.168.8.106/share /media/ant cifs guest,noperm 0 2
แก้ไขเสร็จแล้วเซฟไฟล์ แล้วสั่ง
$ sudo mount -a
ไม่รู้มันหลุดได้ยังไง ต้องแก้เป็น
//localhost/share /media/cat cifs guest,noperm 0 2
ลองเม้าส์เครื่องอื่นเพิ่ม และแก้ไขกลับไปมา ก็โผล่ขึ้นมาให้ใช้ได้อีก ไม่รู้เหตุผล
# เม้าส์แมนนวล
$ sudo mount -t cifs -o rw,vers=3.0,credentials=/root/.smbcredentials //127.0.0.1/share /media/cat
ยังออโต้เม้าส์กับ asus DSL-N12U_C1 ไม่สำเร็จ ต้องเม้าส์แบบปกติ ซึ่งบางวันก็ทำได้ บางวันก็ไม่มีให้ทำ
-VirtualBox 6.1
https://wsx2.blogspot.com/2021/01/virtualbox-no-usb.html
-ABD
https://wsx2.blogspot.com/2020/12/adb-for-linuxmint-2004.html
-Etcher ดาวน์โหลดมาใช้ได้เลย เป็นแบบportable ดาวน์โหลดมา-แตกไฟล์-ดับเบิ้ลคลิกใช้ได้เลยครับ
-Scanner https://wsx2.blogspot.com/2021/01/driver-scanner-mfc-j200-brother-for.html
- แก้ไขรูปภาพ drawing และ Kolourpaint
$ sudo snap install drawing ไม่ค่อยดี
$ sudo apt install kolourpaint ดีกว่าแต่เหมือนยังไม่สุด
- FoxitReader เพื่อpdf การใช้งานต้องพิมพ์ใหม่หมด1รอบ และอาจต้องเว้น1วรรคก่อนพิมพ์ข้อความ
$ wget http://cdn01.foxitsoftware.com/pub/foxit/reader/desktop/linux/2.x/2.4/en_us/FoxitReader.enu.setup.2.4.4.0911.x64.run.tar.gz
ไปที่โฟลเดอร์ที่เก็บไฟล์ อยู่ที่Downloadsหรือhome
$ cd ~/Downloads
แตกไฟล์
$ tar xzvf FoxitReader*.tar.gz
เปลี่ยนสิทธิ์เพื่อรัน
$ sudo chmod a+x FoxitReader*.run
รันติดตั้ง
$ sudo ./FoxitReader*.run
ลงPrinter pdf เพื่อความสะดวกในพิมพ์เป็นไฟล์pdf
$ sudo apt install printer-driver-cups-pdf
จัดการงานพิมพ์ได้ในหน้าweb browser เข้า127.0.0.1:631
-Dropbox
https://www.dropbox.com/install-linux
ใช้คำสั่งรัวๆเลย2บรรทัด แค่นั้น
$ cd ~ && wget -O - "https://www.dropbox.com/download?plat=lnx.x86_64" | tar xzf -
$ ~/.dropbox-dist/dropboxd
แล้วจะเข้าChrome เพื่อlog in ก็ต้องทำให้เสร็จเพื่อที่จะซิงค์ข้อมูลได้เลย **ไม่เห็นไอคอลในโปรแกรมเลย**
-Lancard 2ใบ
ถ้าเครื่องมันเลือกเองแล้วใช้งานได้ก็ไม่ต้องแก้ไขอะไรครับ
ส่วนวิธีบังคับคือทำแบบgui ให้ตั้งค่าไอพีคงที่ทุกอัน อันที่ไม่ได้ออกเน็ตไม่ต้องค่า gatewayและdns ส่วนอันที่ออกเน็ตให้ใส่ค่าgatewayเป็นipของเร้าเตอร์และdnsเป็นipของเร้าเตอร์และgoogle เช่น 192.168.1.1,8.8.8.8 เสร็จกดปิด-เปิดการ์ดทุกอัน1รอบ หลังจากทดสอบแล้วใช้ได้ แต่ควรลบ,8.8.8.8ออกจะดีกว่า เหมือนเครื่องมันวนๆนิดนึง
*เครื่องอาจจะงงกับssidที่ชื่อซ้ำกัน ให้กดforgetออกให้หมดก่อน
*แก้ไขไฟล์ข้างล่างก็ไม่ได้ผลอะไรเลย
$ sudo nano /etc/network/interfaces
$ sudo nano /etc/resolv.conf
ให้เครื่องเชื่อมต่อnetworkใหม่ โดยสั่ง
$ sudo service network-manager restart
Linuxบางตัวแก้ไขให้ delay activate lan cardอันที่ไม่ได้ออกเน็ต
-ข้อคิดเห็นจากการใช้งานจริง เมื่อใช้งานแบบรีโมท
1.การสลับภาษาไทยขอังกฤษที่เครื่องลูกอาจจะทำไม่ได้ แก้ไขโดยให้log out แล้ว log in ใหม่ 1รอบ
2.เข้าเว็บFACEBOOK บางครั้งโหลดช้ามาก หรือถึงบางเว็บด้วย ก็ต้องกดรีเฟรซหรือเปิดอีกหน้าและกดเรียกใหม่ครับ ไม่รู้ว่าเป็นเพราะสเปคเครื่องช้าไปมั้ย(H77+pentium 2130 +Hddจานหมุน เน็ตช้าด้วย ) พอเปลี่ยนเป็นฮาร์ดดิสssd ก็ไม่เป็นปัญหานี้แล้ว
3.สามารถfast switch ระหว่างตัวลูกด้วยกันได้เท่านั้น -แต่ไม่สามารถfast switchระหว่างตัวแม่กับตัวลูก ถ้าlog inใช้งานอยู่ที่ตัวแม่อยู่ ถ้าจะมาlog inที่ตัวลูก จะต้องlog outที่ตัวแม่ออกก่อนเท่านั้น ดังนั้นเพื่อความสะดวกในการใช้งานจึงไม่ควรให้ใครlog inใช้งานที่ตัวแม่เลย การปิดเครื่องสามารถสั่งจากผู้ใช้ไหนก็ได้ แต่ต้องใช้รหัสrootเพื่อปิดเครื่อง
4.ปัญหาของLinePc
4.1ผู้ใช้บางคนบอกว่า LinePc ดาวน์โหลดไฟล์รูปจากที่ส่งมาเป็นกลุ่มแล้วหาย ปัญหานี้อาจเกิดจากเน็ตไม่เสถียรทำให้ได้ไฟล์มาไม่ครบ จะกดดาวน์โหลดอีกครั้งให้ขึ้นไปที่รูปนั้นๆโดยตรง หรือให้กดปุ่มF5เพื่อหาไฟล์ใหม่
4.2.LinePc ได้รับข้อความช้ากว่ามือถือนานมาก และไม่ค่อยรีเฟรชข้อความที่เข้ามาใหม่ ไม่เสถียรเลย
5.เครื่องลูกที่เป็นarmbianกล่องแอนดรอยS905x ควรใช้remminaในการรีโมทเข้ามาใช้ubuntu20.04 เพราะrdesktopไม่ค่อยตอบสนอง แต่LinuxMint & LinuxMXไม่เป็นไร
6.อย่าคิดว่ามันดีกว่าwindows10 มันแค่ไม่เสียค่าไลเซ่น กับใช้แบบหลายเครื่องได้แบบนานๆโดยไม่ต้องมาแฮก
7.ปุ่มEnter2ปุ่ม ตอบสนองไม่เหมือนกัน
8.เมื่อวานไม่ใช้งานนานเครื่องดันแฮ้งค์ ต้องปิดสวิต ลองตั้งค่าpowerให้ไม่มีsleep time
9.หลังจากลงบนssd ก็ตอบสนองได้ดีใกล้เคียงกันกับตอนที่เล่นwindows10 บนssd
10.ความเร็วในการเปิดเครื่องและรีบูทเครื่อง ก็พอๆกับwindows10 บนssd
11.Printer การปรับค่ากระดาษซ้าย-ขวา มีไม่เหมือนกันในแต่ละโปรแกรม ทำให้การใช้งานค่อนข้างงงมาก
12.shotwell viewer vs image viewer แนะนำเลือกshotwell viewer
13.kolour paint ใช้งานเล็กๆน้อยๆเพื่อแก้ไขรูปได้ดี แต่ฟังก์ชั่นPrint ห่วยมาก ปรับอะไรไม่ได้ คงต้องใช้GNU Image Manipulation Program (GimP) แทนละ ก็ไม่น่ายากอะไร
14.ลงphotoCollage โปรแกรมรวมรูปเพิ่ม ใช้งานง่ายดี
15.จัดการงานพิมพ์ได้ในหน้าweb browser เข้า127.0.0.1:631
16.วันนี้เป็นอะไรไม่รู้ การสลับภาษาไทย ทำได้บ้างไม่ได้บ้างครับ logout / login ใหม่ ใช้ไปซักพักก็สลับภาษาไม่ได้อีก
17.การดูหุ้น อาจจะใช้aspen ไม่ได้ ก็ยังไม่ได้เล่นหุ้น
18.FoxitReader ชอบerror พอทนได้
19. จากข้อ 4.2 ,16 ,17 ,18 สรุปเลิกใช้ครับ
Comments
Post a Comment